การตรวจและการรับรอง

Fertilizer

Farming & Agriculture

มาตรฐานเพื่อการเกษตร เราเชี่ยวชาญในการตรวจรับรองฟาร์มข้าว และฟาร์มประมง

Fertilizer

Food Processing & Manufacturing

มาตรฐานด้านสุขอนามัยและการผลิตที่ดีสำหรับ โรงงาน ผู้ประกอบการ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

Fertilizer

Environment

มาตรฐานแสดงความมุ่งมั่นในการปกป้องสิ่งแวดล้อม เพื่ออนาคตและคนรุ่นถัดไป

บริการของเรา

01

พืชและพืชอินทรีย์

service
01

พืชและพืชอินทรีย์

GAP พืชอาหาร: ผัก ผลไม้ ข้าว

  • บริการตรวจรับรองแปลงปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร (GAP สำหรับพืช ผัก ผลไม้ และข้าว) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GAP และเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร (Q Mark) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปอาหาร โรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

GAP สมุนไพร

  • บริการตรวจรับรองแปลงปลูกพืชตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชสมุนไพร (GAP สมุนไพร) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GAP และเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร (Q Mark) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ORG พืชและข้าวอินทรีย์

  • บริการตรวจรับรองแปลงปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (ORG พืชอินทรีย์/ข้าวอินทรีย์) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง ORG และเครื่องหมายรับรองเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย (Organic Thailand) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปอาหาร โรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขอบข่ายที่ให้บริการ

  1. GAP พืชและพืชอินทรีย์
    • มกษ.1000-2546 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับลำไย
    • มกษ.1001-2551 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมะพร้าวน้ำหอม
    • มกษ.2500-2548 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับหน่อไม้ฝรั่ง
    • มกษ.2501-2548 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกระเจี๊ยบเขียว
    • มกษ.2503-2550 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดฝักอ่อน
    • มกษ.3502-2561 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชสมุนไพร
    • มกษ.4400-2552 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวหอมมะลิไทย
    • มกษ.4401-2551 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าว
    • มกษ.4402-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง
    • มกษ.4406-2560 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเมล็ดพันธุ์ข้าว
    • มกษ.5901-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมันสำปะหลัง
    • มกษ.5902-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับอ้อยโรงงาน ORG
    • มกษ.9000-2564 : เกษตรอินทรีย์ : การผลิต การแปรรูป การแสดงฉลาก และการจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์
    • มกษ.9001-2564 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร
02

สัตว์น้ำ

service
02

สัตว์น้ำ

GAP กุ้งทะเล

  • ให้บริการตรวจรับรองฟาร์มและกระชังเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับกุ้งทะเล (GAP กุ้งทะเล) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GAP และเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร (Q Mark) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปอาหาร โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

GAP ปลาทะเล

  • บริการตรวจรับรองฟาร์มและกระชังเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับปลาทะเล (GAP ปลาทะเล) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GAP และเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร (Q Mark) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปอาหาร โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

GAP สัตว์น้ำจืด

  • บริการตรวจรับรองฟาร์มและกระชังเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับสัตว์น้ำจืด (GAP สัตว์น้ำจืด) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GAP และเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร (Q Mark) ในการขายผลผลิตให้กับโรงงานแปรรูปอาหาร โมเดิร์นเทรด (Modern Trade) และการส่งออก
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขอบข่ายที่ให้บริการ

  • มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (GAP) สำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำ และสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำ พ.ศ.2553 กรมประมง (กุ้งทะเล และสัตว์น้ำจืด)
  • มกษ.7401-2562 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล
  • มกษ.7417-2559 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
  •  มกษ.7421-2561 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำจืด
  • มกษ.7422-2561 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะและอนุบาลลูกกุ้งทะเล
  • มกษ.7426-2555 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มสัตว์น้ำจืดสวยงาม
  • มกษ.7429-2559 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเลี้ยงปลาทะเล
  •  มกษ.7436-2563 : การปฎิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค
  • มกษ.7438-2565 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค
03

ความปลอดภัยอาหาร

service
03

ความปลอดภัยอาหาร

GMP โรงงานผัก ผลไม้ ส่งออก

  • บริการตรวจรับรองโรงงานผัก ผลไม้ส่งออก ตามมาตรฐานการปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด (GMP โรงงานผัก ผลไม้ ส่งออก) สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GMP หรือเลขรหัสเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเพื่อการส่งออก (เลข กษ)
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

GMP โรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม

  • บริการตรวจรับรองโรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ตามมาตรฐาน GMP (GMP โรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่ม) สำหรับประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GMP หรือเลขรหัสเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเพื่อการส่งออก (เลข กษ)
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

GHPs/HACCP Codex

  • บริการตรวจรับรองตามมาตรฐาน GHPs และ HACCP Codex สำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ใบรับรอง GHPs/HACCP Codex หรือเลขรหัสเครื่องหมายรับรองมาตรฐานเพื่อการส่งออก (เลข กษ)
  • เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขอบข่ายที่ให้บริการ

  • Codex Alimentarius Commission: CAC/RCP 1-1969, Rev.4-2003 Recommended International Code of Practice: General Principles of Food Hygiene, Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System and Guidelines for its Application
  • มกษ.1004-2557 : หลักปฏิบัติสำหรับกระบวนการรมผลไม้สดด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
  • มกษ.4403-2553 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงสีข้าวและโรงปรับปรุงสภาพข้าว
  • มกษ.6401-2558 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ
  • มกษ.7420-2552 : การปฏิบัติที่ดีด้านสุขลักษณะสำหรับการแปรรูปสัตว์น้ำเบื้องต้น
  • มกษ.9023-2564 : หลักการทั่วไปด้านสุขลักษณะอาหาร : การปฏิบัติทางสุขลัษณะที่
  • มกษ.9024-2564 : ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมและแนวทางในการนำไปใช้
  • มกษ.9035-2553 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด
  • มกษ.9039-2556 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตผักและผลไม้สดตัดแต่งพร้อมบริโภค
  • มกษ.9041-2557 : หลักปฏิบัติสำหรับการผลิตสินค้าเกษตรแช่เยือกแข็ง
  • มกษ.9046-2560 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตทุเรียนแช่เยือกแข็ง
  • มกษ.9047-2560 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงรวบรวมผักและผลไม้สด
04

สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว

service
04

สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว

Carbon Footprint องค์กร

บริการให้คำปรึกษา และทวนสอบสำหรับคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร ทั้งความใช้ได้และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ตามแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.)

บริการคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรนี้ มีไว้สำหรับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ทั้งรัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นภาคการผลิต เช่น โรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ที่ผลิตผลิตภัณฑ์ทั่วไป ภาคการบริการ เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า โรงแรม เพื่อรองรับการจัดทำงานการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและลดต้นทุน การชดเชยปริมาณคาร์บอนหรือซื้อขายคาร์บอนเครดิต ซึ่งจะเป็นมาตรฐานสำคัญในอนาคตอันใกล้ อีกทั้งดำเนินการเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการสื่อสารและการรายงานด้านสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน และธรรมาภิบาล (ESG)

Carbon Footprint ผลิตภัณฑ์

บริการให้คำปรึกษา และทวนสอบความใช้ได้ และการทวนสอบปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมหรือบริการตลอดวัฏจักรของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาวัตถุดิบ การผลิต การใช้งาน การทำลายซาก รวมถึงการขนส่ง ตลอดทุกขั้นตอน ตามแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์ ของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.)

บริการคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์นี้ มีไว้สำหรับผู้ประกอบการที่ผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ต้องการติดฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นของผลิตภัณฑ์ตามของข้อกำหนดของคู่ค้า การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและลดต้นทุน รวมทั้งการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมต่อสังคมและผู้บริโภค”

มาตรฐานที่พักเพื่อการท่องเที่ยว

บริการตรวจมาตรฐานการที่พักเพื่อการท่องเที่ยว (มทท 200)

  • มาตรฐานที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (มทท 201)
  • มาตรฐานที่พักเพื่อการท่องเที่ยวประเภทโรงแรม (มทท 202)
  • มาตรฐานที่พักเพื่อการท่องเที่ยวประเภทสถานพักตากอากาศ (รีสอร์ท) (มทท 203)

มาตรฐานบริการเพื่อการท่องเที่ยว

บริการตรวจมาตรฐานการบริการเพื่อการท่องเที่ยว (มทท 300)

  • มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะเพื่อการท่องเที่ยว (มทท 302)
  • มาตรฐานการให้บริการและความปลอดภัยในศูนย์การค้าเพื่อการท่องเที่ยว (มทท 312)
  • การจัดการบริการในสถานประกอบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (มทท 313)

มาตรฐานกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว

บริการตรวจมาตรฐานกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว (มทท 400)

  • มาตรฐานกิจกรรมดำน้ำ (มทท 407)

ขอบข่ายที่ให้บริการ

  1.  Carbon Footprint
    • อุตสาหกรรมการผลิตทั่วไป (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
    • การเกษตร ป่าไม้ และการใช้ที่ดิน (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
    • กิจกรรมการบริการทั่วไป (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
  2.  มาตรฐานด้านการท่องเที่ยว
    • มาตรฐานที่พักเพื่อการท่องเที่ยว
    • มาตรฐานบริการเพื่อการท่องเที่ยว
    • มาตรฐานกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว

ลูกค้าของเอมาร์ค

  • ฟาร์ม
  • โรงคัดบรรจุ (ล้ง)
  • โรงงานอาหาร
  • ผู้ผลิต ส่งออก นำเข้า และจัดจำหน่าย
  • โรงพยาบาล
  • หน่วยงานราชการ
ลูกค้าของเอมาร์ค

FAQ

คำถามที่พบบ่อย ของบริการนี้

เรียนรู้เพิ่มเติม

ขอบข่ายที่ได้รับการรับรอง

  1. พืชและพืชอินทรีย์
    • GAP
      • มกษ.1000-2546 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับลำไย
      • มกษ.1001-2551 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมะพร้าวน้ำหอม
      • มกษ.2500-2548 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับหน่อไม้ฝรั่ง
      • มกษ.2501-2548 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับกระเจี๊ยบเขียว
      • มกษ.2503-2550 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดฝักอ่อน
      • มกษ.3502-2561 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชสมุนไพร
      • มกษ.4400-2552 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวหอมมะลิไทย
      • มกษ.4401-2551 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าว
      • มกษ.4402-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง
      • มกษ.5901-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับมันสำปะหลัง
      • มกษ.5902-2553 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับอ้อยโรงงาน
      • มกษ.9001-2556 : การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร
    • ORG
      • มกษ.9000-2564 : เกษตรอินทรีย์ : การผลิต การแปรรูป การแสดงฉลาก และการจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์อินทรีย์
  2. สัตว์น้ำ
    • มกษ.7401-2565 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล
    • มกษ.7417-2559 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
    • มกษ.7421-2561 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำจืด
    • มกษ.7422-2561 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะและอนุบาลลูกกุ้งทะเล
    • มกษ.7426-2555 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มสัตว์น้ำจืดสวยงาม
    • มกษ.7429-2559 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเลี้ยงปลาทะเล
    • มกษ.7436-2563 : การปฎิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค
    • มกษ.7438-2565 : การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี สำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำเพื่อการบริโภค
    • มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (GAP) สำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำ และสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำ พ.ศ.2553 กรมประมง (กุ้งทะเล และสัตว์น้ำจืด)
    • มาตรฐานการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (GAP) สำหรับฟาร์มเพาะพันธุ์และอนุบาลสัตว์น้ำ และสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำ พ.ศ. 2553 กรมประมง (กุ้งทะเล และสัตว์น้ำจืด)
  3. ความปลอดภัยอาหาร
    • มกษ.1004-2557 : หลักปฏิบัติสำหรับกระบวนการรมผลไม้สดด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
    • มกษ.4403-2553 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงสีข้าว
    • มกษ.6401-2558 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ
    • มกษ.7420-2552 : การปฏิบัติที่ดีด้านสุขลักษณะสำหรับการแปรรูปสัตว์น้ำเบื้องต้น
    • มกษ.9023-2550 : หลักเกณฑ์การปฏิบัติ : หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร
    • มกษ.9024-2550 : ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมและแนวทางในการนำไปใช้
    • มกษ.9035-2553 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด
    • มกษ.9039-2556 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตผักและผลไม้สดตัดแต่งพร้อมบริโภค
    • มกษ.9041-2557 : หลักปฏิบัติสำหรับการผลิตสินค้าเกษตรแช่เยือกแข็ง
    • มกษ.9046-2560 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับการผลิตทุเรียนแช่เยือกแข็ง
    • มกษ.9047-2560 : การปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงรวบรวมผักและผลไม้สด
    • The General Principles of Food Hygiene : Good Hygiene Practices (GHPs) and the Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System (CXC 1-1969), Revised in 2020
  4. สิ่งแวดล้อม
    • Carbon Footprint
      • อุตสาหกรรมการผลิตทั่วไป (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
      • การเกษตร ป่าไม้ และการใช้ที่ดิน (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
      • กิจกรรมการบริการทั่วไป (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
      • มาตรฐานด้านการท่องเที่ยว
      • กิจกรรมดำน้ำ (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
      • สถานพักตากอากาศ (รีสอร์ท) ระดับ 1-4 ดาว (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

สถานะการรับรองของลูกค้า

อายุใบรับรอง

  • GAP, GMP, GHPs และ HACCP มีอายุ 3 ปี
  • Organic มีอายุใบรับรองระยะปรับเปลี่ยน 1 ปี สำหรับการตรวจประเมินครั้งแรก และในการตรวจประเมินครั้งต่อไปจะมีอายุใบรับรอง Organic 1 ปี

การต่ออายุการรับรอง

สามารถยื่นเอกสารก่อนใบรับรองหมดอายุ 180 วัน

ประกาศนโยบายคุณภาพ

ท่านสามารถเปิดดูเอกสารได้ที่นี่