Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

No cookies to display.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

No cookies to display.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

No cookies to display.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

No cookies to display.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

No cookies to display.

ความสำคัญของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ดิน น้ำ ปุ๋ยและวัตถุอันตรายทางการเกษตร ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลกับผลผลิตทางการเกษตร หากเกษตรกรสามารถเลือกพื้นดินและแหล่งน้ำที่เหมาะสม ใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและหากเมื่อมีศัตรูพืชมาทำลายผลผลิตจนไม่สามารถจัดการได้ ก็ต้องใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีฤทธิ์ในการกำจัดศัตรูพืชนั้นและใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะทำให้มีต้นทุนที่เหมาะสมและผลผลิตสูง ซึ่งหากเป็นในส่วนของการทดสอบน้ำตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 61 และ 135 ไม่ได้กำหนดให้มีการตรวจหาเชื้อ Clostridium Perfringens อย่างไรก็ตามหากเป็นการตรวจน้ำเพื่อการบริโภค ตามมาตรฐานอุตสากรรม (มอก.) หมายเลข 257 เรื่องน้ำบริโภค จำเป็นต้องมีการตรวจหาเชื้อนี้

โดยการทดสอบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร สำหรับเกษตรกร เป็นการบริหารจัดการเพื่อเลือกใช้และใช้ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นทดสอบคุณภาพน้ำ และดินก่อนการปลูกเพื่อดูความเหมาะสมในการเลือกพืชที่จะปลูกและจัดการปรับปรุงคุณภาพดินที่เกิดจากการเสื่อมคุณภาพที่เกิดจากการปลูกพืชแต่ละชนิดลงไป โดยการเลือกปุ๋ยที่ตรงกับการปรับสภาพฟื้นฟูดินแต่ละที่ให้เหมาะกับพืชที่จะปลูก ซึ่งเป็นการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตในเวลาเดียวกัน

สำหรับในส่วนของผู้ประกอบการที่ประสงค์จะผลิต จำหน่าย นำเข้าหรือส่งออกปุ๋ยขึ้นทะเบียน ผู้ประกอบการสามารถนำใบรายงานผลการทดสอบไปขออนุญาตขอขึ้นทะเบียนปุ๋ยกับทางกรมวิชาการเกษตรได้เลย แต่ในส่วนที่สำหรับผู้ประกอบการที่จะผลิต/นำเข้าจำเป็นต้องทดสอบปุ๋ยและวัตถุอันตรายทางการเกษตร เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพและมาตรฐาน

โดย AMARC สามารถให้บริการทดสอบวิเคราะห์ เช่น
– ทดสอบวิเคราะห์ปุ๋ย เช่น ทางกายภาพ ได้แก่ ขนาดของปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยอินทรีย์, ความชื้นและสิ่งที่ระเหยได้, ความเป็นกรด-ด่าง
, ปริมาณอินทรีย์วัตถุ เป็นต้น ทดสอบธาตุอาหารหลัก ทดสอบธาตุอาหารรอง และธาตุปนเปื้อน เป็นต้น
– ทดสอบวิเคราะห์วัตถุอันตรายที่ใช้ทางการเกษตร เช่น สารออกฤทธิ์ ได้แก่ HPLC technique, GC Technique, Wet Chemistry Technique และสารอื่นๆ เป็นต้น ทดสอบทางกายภาพ ได้แก่ ปริมาณน้ำเจือปน, ความเป็นกรด, ความเป็นด่าง และค่า pH เป็นต้น
– ทดสอบวิเคราะห์ดิน เช่น ความเป็นกรด-ด่าง, ค่าการนำไฟฟ้า, อินทรีย์วัตถุ, ความชื้น, ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อพืช, ธาตุที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน และสารปนเปื้อนอื่นๆ เป็นต้น
– ทดสอบวิเคราะห์น้ำ เช่น ความเป็นกรด-ด่าง, การนำไฟฟ้า ด้านเคมี ได้แก่ Nitrogen, Zinc, Copper เป็นต้น ด้านสารปนเปื้อน ได้แก่ โลหะหนัก, Pesticide Residues, สารเคมีกำจัดแมลงOrganophosphate Group และPyrethroid Group เป็นต้น
– ทดสอบวิเคราะห์ประสิทธิภาพ และสารพิษตกค้างของวัตถุ อันตรายทางการเกษตร เพื่อการขึ้นทะเบียน เช่น ทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชหรือ ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช และทดสอบสารพิษตกค้างสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นต้น
– บริการอื่นๆ

หากท่านสนใจสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ AMARC
ที่มาข้อมูล: AMARC Laboratory