ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

Fertilizer

Fertilizer

เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และขึ้นทะเบียน

Fertilizer

Hazardous Substances

เพื่อทดสอบ วิเคราะห์คุณภาพ ทดสอบประสิทธิภาพและการสลาย และขึ้นทะเบียน

Fertilizer

Research & Development

บริการวิจัยและพัฒนาในแปลง แบบครอบคลุมเบ็ดเสร็จ

บริการของเรา

01

ปุ๋ย

service
01

ปุ๋ย

กายภาพ

  1. ขนาดของปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยอินทรีย์
  2. ความชื้นและสิ่งที่ระเหยได้
  3. ความเป็นกรด-ด่าง
  4. ปริมาณอินทรีย์วัตถุ
  5. อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน
  6. การนำไฟฟ้า
  7. ความถ่วงจำเพาะ
  8. ความละเอียด
  9. ปริมาณหิน กรวด
  10. กรดฮิวมิก
  11. อินทรีย์วัตถุ
  12. อินทรีย์คาร์บอน
  13. พลาสติก, แก้ว, วัสดุมีคม หรือโลหะอื่นๆ
  14. การย่อยสลายเสร็จสมบูรณ์ของปุ๋ยอินทรีย์ (Germination Index)
  15. ไบยูเร็ต
  16. ไบยูเร็ตไนโตรเจน

ธาตุอาหารหลัก

  1. Total Nitrogen(TN)
    • Ammonium Nitrogen (AN)
    • Urea Nitrogen(UN)
    • Nitrate Nitrogen (NN)
  2.  Total Phosphorus (TP2O5)
    • Citrate Insoluble P2O5 (CIP)
    • Water Soluble P2O5 (WP)
    • Available P2O5 (AVP)
  3.  Water Soluble Potassium (WK2O)

ธาตุอาหารรอง

  1. Calcium Oxide (CaO)
  2. Magnesium Oxide (MgO)
  3. Sulphur (S)

ธาตุอาหารเสริม

  1. Total Iron (Fe)
  2. Total Zinc (Zn)
  3. Total Manganese (Mn)
  4. Total Copper (Cu)
  5. Total Cobalt (Co)
  6. Total Molybdenum (Mo)
  7. Boron (B)
  8. Chloride (Cl)
  9. Sodium (Na)

ธาตุปนเปื้อน

  1. Total Arsenic (As)
  2. Total Cadmium (Cd)
  3. Total Chromium (Cr)
  4. Total Mercury (Hg)
  5. Total Lead (Pb)

ค่าใช้จ่ายและระยะเวลา

02

วัตถุอันตรายที่ใช้ทางการเกษตร

service
02

วัตถุอันตรายที่ใช้ทางการเกษตร

สารออกฤทธิ์

  1.  สารออกฤทธิ์ (ได้รับการรับรองแล้ว)
    • HPLC technique
      • Carbaryl(WP)
      • Imidacloprid (WG)
      •  Carbendazim (SC)
      •  Fipronil (SC)
      •  Dinotefuran (GR)
    •  GC Technique
      •  Cypermethrin (EC)
    •  Wet Chemistry Technique
      •  Ethephon (SL)
      • Mancozeb (WP)
      • Propineb (WP)
  2.  สารออกฤทธิ์อื่นที่ยังไม่ได้รับการรับรอง
    • สารอื่นๆ มากกว่า 200 สาร

กายภาพ

  1. ปริมาณน้ำเจือปน
  2. ความเป็นกรด
  3.  ความเป็นด่าง
  4.  ค่า pH (ได้รับการรับรอง)
  5.  ความคงทนของฟอง
  6.  การเปียกน้ำ (ได้รับการรับรอง)
  7.  ความหนาแน่น
  8.  ความสามารถในการไหลเท
  9.  ตะแกรงร่อนแห้ง
  10.  ตะแกรงร่อนเปียก
  11. การกระจายตะกอนแขวนลอย
  12.  การกระจายของสารในน้ำสูตร WG, SC
  13.  การคงสภาพการละลาย
  14.  การคงสภาพและการคืนตัวของอิมัลชั่น
03

ดิน

service
03

ดิน

ความเป็นกรด-ด่าง

ค่าการนำไฟฟ้า

อินทรีย์วัตถุ

ความชื้น

ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

  1.  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
  2.  กำมะถันที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
  3.  เหล็กที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
  4.  แมงกานีสที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
  5.  สังกะสีที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
  6.  ทองแดงที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

ธาตุที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน

  1. โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน
  2. โซเดียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน
  3. แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน
  4. แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน

สารปนเปื้อน

  1. สารหนูทั้งหมด
  2. แคดเมียมทั้งหมด
  3. โครเมียมทั้งหมด
  4. ปรอททั้งหมด
  5. ตะกั่วทั้งหมด
04

น้ำ

service
04

น้ำ

ความเป็นกรด-ด่าง

การนำไฟฟ้า

เคมี

  1. TDS
  2. TSS
  3. Phenol Sulphate
  4. Formaldehyde
  5. Grease and Oil
  6. BOD
  7. COD
  8. Total Kjedahl
  9. Nitrogen
  10.  Zinc
  11. Copper

สารปนเปื้อน

  1. โลหะหนัก
    • Barium
    • Cadmium
    • Lead
    • Arsenic
    • Mercury
    • Hexavalent-chromium
    • Total Chromium
    • Trivalent-chromium
    • Selenium
    • Nickel
  2.  Pesticide Residues: Organochlorine Group
    • Aldrin
    • HCB
    • alpha-BHC
    • beta-BHC
    • gamma-BHC
    • alpha-Endosulfan
    • beta-Endosulfan
    • cis-Chlordane
    • trans-Chlordane
    • DDT Delivatives
    • Dieldrin
    • Endrin
    • Heptachlor
    • Heptachlor-exo-epoxide
    • Endosulfan-sulfate
    • Dicofol
    • Methoxychlor
  3.  สารเคมีกำจัดแมลง: Organophosphate Group
    • Dichlorvos
    • Mevinphos
    • Ethoprophos
    • Dimethoate
    • Tebufos
    • Diazinon
    • Etrimfos
    • Parathion-methyl
    • Fennitrothion
    • Pirimiphos-methyl
    • Malathion
    • Fenthion
    • Chlorpyrifos
    • Pirimiphos-ethyl
    • Chlofenvinphos
    • Methidathion
    • Prothiophos
    • Profenofos
    • Ethion
    • Triazophos
    • EPN
    • Anilofos
    • Phosalone
    • Azinphos-ethyl
  4.  สารเคมีกำจัดแมลง: Pyrethroid Group
    • Lambda-cyhalothrin
    • Cyfluthrin
    • Cypermethrin
    • Fenvalerate
    • Permethrin
05

การทดสอบประสิทธิภาพ และสารพิษตกค้างของวัตถุ อันตรายทางการเกษตร เพื่อการขึ้นทะเบียน

service
05

การทดสอบประสิทธิภาพ และสารพิษตกค้างของวัตถุ อันตรายทางการเกษตร เพื่อการขึ้นทะเบียน

การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

  1. สารเคมีกำจัดแมลง
  2. สารเคมีกำจัดเชื้อรา
  3. สารเคมีกำจัดวัชพืช
  4. สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช

การทดสอบประสิทธิภาพชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

  1.  ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดแมลง
  2.  ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดโรคพืช

การทดสอบสารพิษตกค้างสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

  1.  สารเคมีป้องกันกำจัดแมลง
  2.  สารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช
  3.  สารเคมีกำจัดวัชพืช
  4.  สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช

ลูกค้าของเอมาร์ค

  • ฟาร์ม
  • ผู้ผลิต ส่งออก นำเข้าและจัดจำหน่าย
  • หน่วยงานราชการ
ลูกค้าของเอมาร์ค

FAQ

คำถามที่พบบ่อย ของบริการนี้

เรียนรู้เพิ่มเติม

ขอบข่ายที่ได้รับการรับรอง

หน่วยงานให้การรับรอง (Accreditation body) ISO/IEC 17025

ความสำคัญของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร (Agricultural Production Factor)

ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ดิน น้ำ ปุ๋ย และวัตถุอันตรายทางการเกษตร สิ่งเหล่านี้มีความสำคัญกับผลิตผลทางการเกษตร หากเกษตรกรสามารถเลือกพื้นดินและแหล่งน้ำได้เหมาะสม ใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้อง และหากเมื่อมีศัตรูพืชมาทำลายผลผลิตจนไม่สามารถจัดการด้วยวิธีการใดๆ ได้ ก็ใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีฤทธิ์ในการกำจัดศัตรูพืชนั้นและใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะทำให้มีต้นทุนที่เหมาะสมและผลผลิตสูง

จุดประสงค์การทดสอบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

การทดสอบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

  • สำหรับเกษตรกร เป็นการบริหารจัดการเพื่อเลือกใช้และใช้ปัจจัยการผลิตทางการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การทดสอบคุณภาพน้ำและดินก่อนการปลูก เพื่อเลือกพืชที่เหมาะสม และจัดการปรับปรุงคุณภาพดินที่เกิดจากการเสื่อมคุณภาพที่เกิดจากการปลูกพืชก่อนหน้าไป โดยการเลือกปุ๋ยที่ตรงกับการปรับสภาพฟื้นฟูดินแต่ละที่ ให้เหมาะกับพืชที่จะปลูก ซึ่งจะเป็นการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตในเวลาเดียวกัน
  • สำหรับผู้ประกอบการที่ประสงค์จะผลิต จำหน่าย นำเข้าหรือส่งออกปุ๋ยขึ้นทะเบียน ผู้ประกอบการสามารถนำใบรายงานผลการทดสอบไปขออนุญาตขอขึ้นทะเบียนปุ๋ยกับทางกรมวิชาการเกษตรได้เลย
  • สำหรับผู้ประกอบการที่จะผลิต/นำเข้าจำเป็นต้องทดสอบปุ๋ยและวัตถุอันตรายทางการเกษตร เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพและมาตรฐาน

รายการทดสอบปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

สามารถดูรายการทดสอบปุ๋ย ดิน น้ำ และวัตถุอันตรายทางการเกษตรได้ที่ ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร